ปากเสียงของคนท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาประเทศ
การเมือง / การปกครอง ย้อนกลับ
ถามคนท้องถิ่นโค้งสุดท้าย ใช้สิทธิเลือกตั้งแน่ 73.5 %
19 พ.ย. 2564

หลังจากมีผลสำรวจใจคนท้องถิ่นภายใต้หัวข้อ “ถามใจคนท้องถิ่น ใช้สิทธิเลือกตั้ง อบต.”ของ สำนักงานคณะกรรมการ กำรเลือกตั้ง นักศึกษำหลักสูตรกำรพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง รุ่นที่ 11 ( พตส. 11) และ อปท. นิวส์โพล ออกมา เพื่อต่อยอดจำกผลกำรสำรวจดังกล่าว สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง โดยสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง ร่วมกับนักศึกษาหลักสูตรการพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง รุ่นที่ 12 (พตส. 12) ได้ออกสำรวจความเห็นของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง อบต. อีกครั้ง ระหว่างวันที่ 6-14 พฤศจิกายน 2564 ในพื้นที่ 42 จังหวัด จำนวน 1,500 ตัวอย่าง ผลการสำรวจที่สาคัญ ดังนี้

1. ภูมิหลังผู้ตอบแบบสอบถาม

1.1 เป็นเพศชาย และเพศหญิงในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน คือ เพศชาย ร้อยละ 52.5 เพศหญิงร้อยละ 47.5

1.2 ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 26 ปี ขึ้นไป กลุ่มอายุที่ตอบแบบสอบถำมมากที่สุดคือ อายุ 36-45 ปี ร้อยละ 22.7

รองลงมาอายุ 46-55 ร้อยละ 22.3 และอายุ 26-35 ปี ร้อยละ 20.7 ส่วนกลุ่มอายุ 18-25 ปี ร้อยละ 16.5

1.3 กำรศึกษำระดับปริญญาตรี ร้อยละ 30.7 รองลงมาระดับมัธยมศึกษา/ ปวช. ร้อยละ 25 ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 18.2 และ ระดับ ปวส. /อนุปริญญำ ร้อยละ 17.3

1.4 อำชีพรับจ้ำงทั่วไป ร้อยละ 23 รองลงมำ เกษตรกร ร้อยละ 16.6 ค้ำขำย ร้อยละ 15.4 และรับราชการ ร้อยละ 15

1.5 รำยได้ต่อเดือนอยู่ระหว่ำง 5,001-10,000 บำท ร้อยละ 30.5 รองลงมา 10,001-15,000 บำท ร้อยละ 21.4

20,000 บำทขึ้นไป ร้อยละ 17.9 เกิน 5,000 บำท ร้อยละ 17 และ 15,001-20,000 บำท ร้อยละ 13.2

1.6 สถานภาพสมรส ร้อยละ 47.5 โสด ร้อยละ 44.5 และหม้ำย ร้อยละ 8

2. การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ส.อบต. และ นายก อบต.

ทราบว่าจะมีการเลือกตั้ง ส.อบต. และ นายก อบต. ในวันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายน 2564 ร้อยละ 92.8 (ผลสำรวจรอบแรก ร้อยละ 86)

ไม่ทราบ ร้อยละ 7.2 (ผลสำรวจรอบ แรก ร้อยละ 14) แสดงว่าประชาชนรับรู้วันเลือกตั้ง มากขึ้นกว่าการสำรวจในรอบแรก

ระยะเวลาในการออกเสียงลงคะแนน

เวลา 08.00-17.00 น. ร้อยละ 77.7

เวลา 08.00-16.00 น. ร้อยละ 12.9

เวลา 08.00-15.00 น. ร้อยละ 9.4

แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทราบถึง เวลาออกเสียงลงคะแนนถูกต้อง คือ ระหว่าง 08.00 -17.00 น.

               สื่อที่ทำให้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ส.อบต. และนายก อบต. มากที่สุด 3 ลาดับแรกคือ ป้ายประชาสัมพันธ์เชิญชวน ร้อยละ 51.7 รองลงมำคือ รถประชำสัมพันธ์ของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ร้อยละ 42.7 หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน ร้อยละ 38.8เมื่อมีการการเลือกตั้ง ส.อบต. และนายก อบต. ทาให้นึกถึงเรื่องใดมากที่สุด คิดถึงเรื่องการพัฒนาท้องถิ่นร้อยละ 49.1 (ผลสำรวจรอบแรก ร้อยละ 50) รองลงมำคือ กำรมีประชาธิปไตย ร้อยละ 23.9 (ผลสำรวจรอบแรกร้อยละ 26) และสิทธิของคนในท้องถิ่น ร้อยละ 26.4 (ผลสำรวจรอบแรก ร้อยละ 25) เมื่อเปรียบเทียบผลกำรสำรวจ 2 ครั้ง จะเห็นว่า ประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามถึงในแต่ละประเด็นเป็นไปในทิศทำงเดียวกันทั้ง 2 ครั้ง

                การไปตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ณ ที่เลือกตั้ง หรือบริเวณใกล้เคียง ที่ทาการ อบต. พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 61.8 ไปตรวจเรียบร้อยแล้ว รองลงมำคือ ไม่ไป เพรำะเชื่อมั่นว่ำมีชื่ออยู่แล้วร้อยละ 26.3 และ ไม่ไป เพราะไม่ทราบว่ามีการปิดประกาศ ร้อยละ 5.8 การได้รับหนังสือแจ้งเจ้าบ้าน พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 61.4 ได้รับแล้ว มีรำยชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งถูกต้องครบถ้วน และยังไม่ได้รับ ร้อยละ 35.7 ได้รับแล้ว แต่มีปัญหาเรื่องรำยชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ครบ ร้อยละ 2.2 รำยชื่อฯ เกิน ร้อยละ 0.7ปัจจัยที่จะมีผลต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งฯ พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.4 คิดว่าโควิด (ผลสำรวจรอบแรก ร้อยละ 51) รองลงมำคือ ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ร้อยละ 12.8 ฝนฟ้าอากาศ ร้อยละ 12.4 ต้องประกอบอำชีพ ร้อยละ 10.9 เมื่อเปรียบเทียบกับผลสำรวจรอบแรก จะพบว่า ลำดับแรกยังเป็นเรื่องโควิด และมีสัดส่วนเพิ่มขึ้น แสดงว่า ประชำชนยังมีความกังวล สานักงาน กกต. ต้องเน้นการประชาสัมพันธ์สร้างความเชื่อมั่นแก่ประชาชนว่า ได้กาหนดมาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไว้ในทุกขั้นตอนการลงคะแนน ปัจจัยที่จะส่งผลต่อการเลือกตั้งฯ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 41.4 เห็นว่า นโยบายรองลงมำคือ คุณสมบัติของผู้สมัคร ร้อยละ 27.9 และ วิธีกำร/กลยุทธ์ในกำรหำเสียง ร้อยละ 11.8

(1)ท่านจะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.อบต. และนายก อบต. ในวันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายน 2564 หรือไม่

ไปแน่นอน ร้อยละ 73.5 

คิดว่าจะไม่ไป ร้อยละ 18.7

ยังไม่แน่ใจ ร้อยละ 6.1

ไม่ไป ร้อยละ 1.7

               ทราบถึงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกตั้งจากแอปพลิเคชัน Smart Vote พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 55.9 ทรำบ(ผลสำรวจรอบแรก ทรำบเพียง ร้อยละ 33) ไม่ทราบ ร้อยละ 44.1 ทราบถึงช่องทางการแจ้งเหตุหากพบการกระทาทุจริตการเลือกตั้ง การกระทาผิดกฎหมายการเลือกตั้งผ่านแอปพลิเคชันตาสับปะรด พบว่า ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าสำมารถแจ้งผ่านแอปพลิเคชันตำสับปะรด ร้อยละ56.1 (ผลสำรวจรอบแรก ไม่ทรำบร้อยละ 62) ทรำบ ร้อยละ 43.9 เมื่อถามต่อว่า หากพบการทุจริตเลือกตั้ง /การกระทาผิดกฎหมายฯ จะแจ้งข้อมูล หรือไม่ พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.3 แจ้ง รองลงมำร้อยละ 21.1อำจจะแจ้ง ส่วนพบแต่ไม่แจ้ง ร้อยละ 14.6

(2) ท่านมีความเชื่อมั่น หรือไม่ว่า การเลือกตั้ง ส.อบต. และ นายก อบต. ครั้งนี้ จะเป็นไปด้วยความสุจริต ยุติธรรม

ไม่แน่ใจ ร้อยละ 30.9

ไม่เชื่อมั่น ร้อยละ 15.8

(ผลสารวจรอบแรก ร้อยละ 19)

หนังสือพิมพ์ OPT NEWS ONLINE
วันที่ 16 - 30 เมษายน 2567
อปท.เชิญเป็นแขก ดูทั้งหมด
27 ธ.ค. 2566
แพทย์ พยาบาล หรือบุคลากรทางการแพทย์ เป็นอาชีพที่ต้องเสียสละตนเองเพื่อผู้อื่น ไม่เพียงต้องดูแลรักษาผู้ป่วยตามหลักการทางการแพทย์เท่านั้น แต่ต้องเข้าใจและเข้าถึงจิตใจของผู้ป่วยอย่างแท้จริงอีกด้วย ดังนั้น ผู้ที่จะทำงานอาชีพนี้ ต้องมีหัวใจและอุดมการณ์ที่มีความเสียส...